วันพุธที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2559

การเขียนเรียงความ

ความหมายของเรียงความ

                เรียงความ เป็นงานเขียน ร้อยเเก้ว ชนิดหนึ่งที่ผู้เขียนมุ่งถ่ายทอดเรื่องราว ความรู้ ความคิด และทัศนคติในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ด้วยถ้อยคำสำนวนที่เรียบเรียงอย่างมีลำดับขั้นและสละสลวย
องค์ประกอบของเรียงความ มี ๓ ส่วนใหญ่ ๆ คือ
คำนำ เป็นส่วนแรกของเรียงความ ทำหน้าที่เปิดประเด็น ดึงดูดค อ่านเพิ่มเติม

                                                ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ การเขียนเรียงความ

การเขียนจดหมาย

การเขียนจดหมาย
          การเขียนจดหมาย ในปัจจุบัน โลกมีการพัฒนาการสื่อสารทางโทรคมนาคมได้สะดวก และรวดเร็ว แต่การสื่อสารอีกชนิดที่ยังมีความสำคัญอย่างยิ่งก็คือ การเขียนจดหมาย เพราะสามารถเขียนได้ทุกเวลา ทุกโอกาส เก็บไว้ได้นาน จดหมายของบุคคลสำคัญจะเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในอนาคต และจดหมายที่เขียนดีมีคุณค่าก็อ อ่านเพิ่มเติม

                                                   ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ การเขียนจดหมาย

หลักการเขียนบรรณานุกรม

หลักการเขียนบรรณานุกรม
              การอ้างอิงทางบรรณานุกรม หมายถึง รายการเอกสาร สิ่งพิมพ์ หรือสื่ออื่นใด ที่ผู้ผลิตผลงานทางวิชาการใช้อ้างอิงในเอกสารผลงานของตน การแสดงรายการทางบรรณานุกรมไว้ที่ผลงานของท่านจึงนับเป็นการให้ความเคารพผลงานทางปัญญาที่ผู้อื่นได้แสดงไว้ อีกทั้งยังมีประโยชน์ในการแสดงที่มาที่ไปขององค์ความรู้ในเรื่องนั้นๆ ทำให้ผู้สนใจสามารถติดตามพัฒนาการของเรื่องนั้นได้ ในโอกาสหน้า
การแสดงรายการทางบรรรณานุกรมสามารถทำได้หลายรูปแบบ หลักสำคัญในการเลือกรูปแบบการลงรายการคือ การเลือกใช้รูปแบบที่เป็นที่นิยมในแต่ละส  อ่านเพิ่มเติม


                                                                      ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ หลักการเขียนบรรณานุกรม

มารยาทในการพูด

มารยาทในการพูด
         มนุษย์จำเป็นต้องมีการติดต่อสื่อสารซึ่งกันและกัน เพื่อถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความรู้สึกให้ผู้อื่นรับรู้ ทักษะหนึ่งที่ใช้ในการสื่อสาร คือ การพูด ซึ่งมีความสำคัญต่อการดำเนินชีวิต และสร้างความสัมพันธ์อันดีต่อกัน จึงจำเป็นต้องอาศัยจรรยามารยาท และคุณธรรมในการพูด การพูดโดยมีจรรยามารยาทและคุณธรรมในการพูด จึงเป็นการจ  อ่านเพิ่มเติม 

                                           ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ มารยาทในการพูด

หลักการตีความ

หลักกการตีความ
                        การอ่านตีความ หมายถึง  การอ่านเพื่อให้เข้าใจความหมาย  ความคิดสำคัญของเรื่อง  ความรู้สึก และอารมณ์สะเทือนใจจากบทประพันธ์ ซึ่งอาจเข้าใจได้มากน้อยลึกซึ้งเพียงใด ตรงกันกับผู้ประพันธ์หรือไม่ หรือผู้อ่านคนอื่น ๆ หรือไม่ ขึ้นอยู่กับความสามารถและประสบการณ์เดิมและความรู้สึกของผู้อ่านแต่ละคน การตีความของทุกคนอาจไม่ตรงกันเสมอไป  โดยในกระบวนการอ่านเพื่อตีความนั้นผู้อ่านจะต้องใช้ความรู้ ความสามารถในก  อ่านเพิ่มเติม

                                                       ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ หลักการตีความ

ระดับภาษา

ระดับภาษา
                      การใช้ภาษาขึ้นอยู่กับกาลเทศะ สถานการณ์ สภาวะแวดล้อม และสัมพันธภาพระหว่างบุคคล ซึ่งอาจแบ่งภาษาเป็นระดับต่างๆได้หลายลักษณะ เช่น (ภาษาระดับที่เป็นแบบแผนและไม่เป็นแบบแผน),(ภาษาระดับพิธีการ ระดับกึ่งพิธีการ ระดับไม่เป็นทางการในชั้นเรียนนี้ เราจะชี้ลักษณะสำคัญของภาษาเป็น ๕ ระดับ ดังนี้
ระดับพิธีการ ใช้สื่อสารกันในที่ประชุมที่จัดขึ้นอย่างเป็นทางการ ได้แก่ การประชุมรัฐสภา การกล่าวอวยพร การกล่าวต้อนรับ การกล่าวรายงานในพิธีมอบปริญญาบัตร ประก  อ่านเพิ่มเติม


                                 ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ระดับภาษา

ปลาบู่ทอง

ปลาบู่ทอง 
                         ปลาบู่ทอง นิทานพื้นบ้านทางภาคกลางของไทย ที่เล่าโดยผ่านวิธีมุขปาฐะ, ร้อยแก้ว, ร้อยกลอง มีเนื้อหาเกี่ยวกับเด็กสาวชาวบ้านผู้มีใจเมตตาได้แต่งงานกับกษัตริย์ เคยเป็นภาพยนตร์และละครโทรทัศน์มาแล้วหลายครั้ง โดยเชื่อว่ามีที่มาจากชนชาติ ในภาคใต้ของจีน เล่าถ่ายทอดกันมาแต่ดึกดำบรรพ์ และในชนพื้นเมืองในหลายชาติของภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ เช่น ลาว, เขมร, พม่า ก็มีเรื่องราวทำนองคล้ายกันนี้ แต่เรียกชื่อต่างออกไป และคล้ายคลึงกับนิทานพื้นบ้านข  อ่านเพิ่มเติม


                                                        ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ วรรณคดีปลาบู่ทอง

นางพิกุลทอง

เรื่องนางพิกุลทอง
                   เป็นละครนอกหนึ่งใน ๑๔ เรื่อง ที่นิยมนำมาเล่นกันมากเรื่องหนึ่งตั้งแต่ครั้ง สมัยอยุธยาปัจจุบันยังพบว่ามีต้นฉบับหนังสือตัวเขียนที่เหลือรอดจากการถูกพม่าทำลายคราวเสียกรุง เก็บรักษาไว้อยู่ที่หอสมุดแห่งชาติ เป็นสมุดข่อยสีขาว ตัวหมึกดำ ลายมือกึ่งบรรจงแกมหวัด ตัวอักษรไม่สม่ำเสมอ และมีบันทึกว่า " หมู่ กลอนบทละคร ชื่อ พิกุลทอง เล่ม 1 (สำนวนเก่า) เลขที่ ๒๐ ตู้ที่ ๑๑๔ ชั้น ๒/๑ มัด ๓๙ ประวัติ สมบัติเดิมของห อ่านเพิ่มเติม

                                                                 ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ วรรณคดี ไทย เรื่อง พิกุล ทอง

คำราชาศัพท์

คำราชาศัพท์
                 การใช้คำว่า “พระ” “พระบรม” “พระราช”
“พระ” ใช้นำหน้าคำนามที่เป็นอวัยวะ ของใช้ เช่นพระชานุ พระนลาฏ พระขนง เป็นต้น
“พระบรม”ใช้เฉพาะพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เช่น พระบรมราโชวาท พระบรมราชานุเคราะห์ พระปรมาภิไธย เป็นต้น
“พระราช” ใช้นำหน้าคำนาม แสดงว่าคำนามนั้นเป็นของ พระมหากษัตริย์ สมเด็จพระบรมราชินี สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ส  อ่านเพิ่มเติม


ผลการค้นหารูปภาพ

ดอกไม้ในวรรณคดีไทย

ดอกไม้ในวรรณคดีไทย                                                                         
                            พุทธชาดเป็นไม้เถากึ่งต้นกึ่งเลื้อย  ต้นแตกกิ่งก้านสาขาเป็นออกไป  สูง 1-2 เมตร  ใบ  ออกเป็นคู่ๆ ตามกิ่ง  ใบยาวประมาณ  6 ซม. สีเขียวสด  ดอกช่อ  ออกเป็นช่อตรงส่วนยอดของกิ่ง  สีขาวและดกมาก  ช่อหนึ่งมีหลายดอกและทยอยผลิบานทุกวัน ดอกติดกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 5- 8 แฉก ดอกบานเต็มที่ประมาณ 1 ซม. กลิ่นหอมแรง ออกดอกตลอดปี  การขยายพันธุ์  ปักชำ  ตอนกิ่ง  ทับกิ่ง  เพาะเมล็ด  ประโยชน์  ดอกนำมาสกัดเอาน้ำมันหอมระเหย   ถิ่นกำเนิดในจีนและอินเดีย  ปลูกในดินร่วนปนท  อ่านเพิ่มเติม
                                                ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ดอกไม้ในวรรณคดี